วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

การกำเนิดของสิ่งมีชีวิต

โบกาฉิ (Bokashi) เป็นภาษาญี่ปุ่นแปลว่า การหมัก (Compost) ที่จำเป็นต้องเรียกว่า โบกาฉิเนื่องจากผู้คิดค้นทำอีเอ็มน้ำให้เป็นอีเอ็มแห้งในรูปจุลินทรีย์แห้งคือคน แรกคือ ศ.ดร.เทรูโอะ ฮิหงะ ปัจจุบันมีการใช้อีเอ็มอย่างหลากหลายทั่วโลกประมาณ 180 ประเทศ ผู้ใช้จากทั่วโลกจึงมีความยินดีเรียก โบกาฉิตามศัพท์เดิมที่มาจากภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นการเข้าใจตรงกันว่าเป็นการทำปุ๋ยหมักด้วยอินทรียวัตถุ ที่หมักด้วยจุลินทรีย์อีเอ็มเท่านั้น ปัจจุบันได้มีการเรียกโบกาฉิในรูปของปุ๋ยชีวภาพต่างๆ ตามแต่ละท้องที่หรือผู้ส่งเสริมเผยแพร่จะเรียกเรียกชื่อ

โบกาฉิเป็นการเพาะเลี้ยงจากจุลินทรีย์อีเอ็มที่เป็นน้ำให้เป็นอีเอ็มแห้ง ซึ่งมีวัสดุ เช่น รำข้าว มูลสัตว์ และแกลบ เมื่อการเพาะเลี้ยงเสร็จสมบูรณ์ภายใน 5-7 วัน จุลินทรีย์อีเอ็มจะเพิ่มจำนวนประชากรขึ้นเป็นจำนวนมาก แล้วนำไปเก็บรักษาไว้ได้นานขึ้น จุลินทรีย์อีเอ็มจึงอยู่ในรูปอีเอ็มแห้ง เมื่อเป็นอีเอ็มแห้งแล้ว จะมีอายุการเก็บรักษาได้อย่างยาวนานขึ้น เมื่อนำไปใช้ในด้านการปลูกพืช การประมง การรักษาสิ่งแวดล้อมจึงสามารถลดต้นทุนการผลิตได้มากและยังมีคุณสมบัติเหมือน จุลินทรีย์อีเอ็มน้ำทุกประการ

วัสดุ

1. รำละเอียด 1 ปี๊บ
2. มูลสัตว์ 1 ปี๊บ
3. แกลบ 1 ปี๊บ
4. ถังน้ำ 10 ลิตร 1 ใบ
5. จุลินทีย์อีเอ็ม 20 ซี.ซี. (2 ช้อนโต๊ะ )
6. กากน้ำตาล 20 ซี.ซี.
7. จอบ หรือ พลั่ว 1 อัน

วิธีทำ

1. นำมูลสัตว์ และแกลบคลุกให้เข้ากัน
2. เติมน้ำลงในถัง 10 ลิตร แล้วเติมจุลินทรีย์อีเอ็มและกากน้ำตาลลงไปอย่างละ 20 ซี.ซี. คลุกให้เข้ากัน รดลงที่ส่วนผสมของมูลสัตว์และแกลบ (ในข้อ1) ให้มีความชื้นพอหมาดๆ ให้น้ำกระจายทั่วทุกส่วนอย่าให้น้ำเปียกแฉะใช้มือบีบดูอย่าให้มีน้ำซึม ผ่านออกมา (น้ำผสมอีเอ็ม 10 ลิตรอาจจะใช้ไม่หมด)
3. โรยรำละเอียดให้รำข้าวกระจายทั่วถึง จะเกิดความชื้นหมาดๆ พอดี

การหมัก
การหมักเพื่อให้จุลินทรีย์อีเอ็มเพิ่มหรือขยายจำนวนประชากรให้มากขึ้น มีการหมัก 2 แบบคือ
1. หมักโดยกองกับพื้นให้สูงจากพื้นประมาณ 20 เซนติเมตร คลุมด้วยกระสอบป่านภายใน 5 ชั่วโมงจะมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ประมาณ 50 องศาเซลเซียส ในวันที่ 2 และวันที่ 3 ให้คลุกผสมใหม่ นำกระสอบคลุมไว้เหมือนเดิม เมื่อครบ 5-7 วัน ปุ๋ยหมักจะแห้งสนิท สามารถนำไปใช้ หรือเก็บรักษาไว้ในที่ร่ม
2. หมักในกระสอบพลาสติก โดยบรรจุลงในกระสอบพลาสติกสานที่มีรูระบายอากาศได้ดี ประมาณ ½ กระสอบ มัดปากกระสอบนอนไว้แล้วเก็บในที่ร่มอากาศถ่ายเท เมื่อถึงวันที่ 2 และวันที่ 3 ให้พลิกกระสอบ เพื่อให้จุลินทรีย์อีเอ็มสร้างสปอร์หรือเพิ่มจำนวนประชากรทุกส่วนได้อย่าง ทั่วถึง เมื่อ 5-7 วันปุ๋ยหมักจะแห้งสนิท

การนำไปใช้
1. หว่านโบกาฉิในแปลงปลูกพืชผัก 2-3 กำมือต่อตารางเมตร คลุมฟางที่แปลงผัก รอบทรงพุ่มไม้ผลไม้ยืนต้น แล้วรดด้วยน้ำอีเอ็ม อีเอ็มหมักน้ำซาวข้าว สารสกัดยอดพืช ฮอร์โมนผลไม้ ฮอร์โมนจากเปลือกผลไม้ฮอร์โมนจากหอยเชอรี่ ฮอร์โมนจากรกสุกร ฮอร์โมนจากขยะเศษอาหาร จะทำให้พืชงาม แข็งแรงไม่มีแมลงรบกวน
2. หว่านโบกาฉิลงไปที่คอห่านหัวส้วม 5 วันต่อครั้งๆ ละ1 กำมือห้องส้วมจะไม่มีกลิ่นเหม็นและไม่เต็มง่าย หว่านโบกาฉิลงในแหล่งน้ำเสีย 2 กิโลกรัม/น้ำเสีย 10 ลูกบาศก์เมตร น้ำเสียจะใสสะอาดภายใน 3-5 วัน หว่านโบกาฉิลงที่กองขยะที่ส่งกลิ่นเหม็น กลิ่นเหม็นจะหายไปและไม่มีแมลงวัน
3. หว่านโบกาฉิลงในบ่อที่เลี้ยงปลา กบ ตะพาบน้ำ จระเข้ กุ้ง อัตรา 100-150 กิโลกรัม/ไร่ จะทำให้น้ำในบ่อใสสะอาดเหมือนน้ำธรรมชาติ ไม่มีกลิ่นเหม็น พยาธิในบ่อจะไม่มี ปลาจะแข็งแรง ไม่เกิดโรค
4. หว่านโบกาฉิอัตรา 100-150 กิโลกรัม/ไร่ ในนาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว แล้วไถกลบ จะทำให้ดินนิ่ม ร่วนซุย ดินโปร่งมีช่องอากาศแทรกในเม็ดดิน ปักดำง่าย ได้ผลผลิตสูง ในปีที่ 1 จะได้ผลผลิตไม่ต่ำกว่า 500 กิโลกรัม/ไร่ เมื่อใช้ติดต่อกันประมาณ 5-6 ปี จะได้ผลผลิตประมาณ 1,000 กิโลกรัม/ไร่ แล้วหยุดการใช้โบกาฉิ สักระยะเนื่องจากดินเหมือนดินในธรรมชาติที่เคยอุดมสมบูรณ์มาเมื่อ 50-100 ปี โรคข้าว เช่น โรครากเน่า-โคนเน่า โรคถอดฝักดาบ โรคเพลี้ยไฟ โรคหนอนกระทู้คอรวง ฯลฯ จะหาไม่พบเลยเมื่อใช้โบกาฉิแล้ว กบ เขียด กุ้ง หอย ปลา ฯลฯ จะกลับคืนสู่ท้องนาอย่างอุดมสมบูรณ์เหมือนที่เคยมีในอดีต
5. หว่านโบกาฉิรอบทรงพุ่มไม้ผล 3-5 กำมือ/ตารางเมตร (ไม่ให้ชิดโคนต้น) หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิต จะทำให้ดินร่วนซุยขึ้น ไม้ผลเจริญเติบโตเร็ว แข็งแรง มีไส้เดือนมาอาศัยอยู่ในสวนเป็นจำนวนมาก พื้นที่ในสวนที่ใช้โบกาฉิจะเก็บรักษาน้ำฝนไว้ไต้ดินจำนวนมาก หน้าแล้งไม้ผลจะออกใบเขียวชอุ่มอยู่ตลอดปี พืชไม่ชะงักการเจริญเติบโต และให้ผลผลิตสูง รสชาติไม้ผลหอมหวานกลมกล่อมเป็นธรรมชาติ ไม่มีโรคและแมลงศัตรูพืชทำลายให้เกิดความเสียหาย

การใช้โบกาฉิ ซึ่งเป็นปุ๋ยหมัก ที่เพาะเลี้ยงจุลินทรีย์อีเอ็มลงไปในอินทรียวัตถุทุกท้องถิ่นหาวัสดุทำได้ ง่าย เป็นปุ๋ยมีชีวิต สร้างดินให้มีชีวิต ปรับโครงสร้างของดินให้เกิดระบบนิเวศที่มีความสมดุลตามธรรมชาติได้อย่างรวด เร็ว คือในระบบนิเวศจะมีพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ถ้าหากทุกพื้นที่ของโลกเกิดความสมดุลทางดังกล่าว ภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ฝนแล้ง น้ำท่วม ลมพายุ นับวันจะเกิดความรุนแรงเสียหายเพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปีจะไม่เกิดขึ้น

กิจกรรมเสนอแนะ
สาาร คดีกองทัพบกเพื่อประชาชนวันเสาร์ เวลา 07.30 – 08.00 น.สถานีวิทยุเครื่อข่ายของกองทัพบกทั่วประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี คลื่น 95.75 MHz
รายการสื่อสัมพันธ์ป่าดงนาทาม วันอาทิตย์ เวลา 20.30 – 21.30 สถานีวิทยุกองทัพเรือ คลื่น 104 MHz และ วันอาทิตย์ เวลา 21.30–22.30 สถานีวิทยุกองทัพภาค 2 คลื่น 95.75 MHz

เอกสารอ้างอิง
โกวิทย์ ดอกไม้. การดำเนินการพึ่งพาตนเองในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ และ การใช้จุลินทรีย์ อีเอ็ม เบื้องต้น ฝ่ายประชาสัมพันธ์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพ 2542.
โกวิทย์ ดอกไม้. เทคนิคการใช้จุลินทรีย์ อีเอ็ม ศูนย์ส่งเสริมการใช้จุลินทรีย์ อีเอ็ม เพื่อการเกษตรและ สิ่งแวดล้อม จังหวัดอุบลราชธานี 2543.
พิเชษฐ์ วิสัยจร. เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์อำนวยการประสานงานโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง เฉพาะพื้นที่ป่าดงนาทาม อันเนื่องมาจากพระราชดำริ พิมพ์ครั้งที่ 3 จังหวัดอุบลราชธานี 2544.
หาญ ลีนานนท์. เกษตรชีวภาพ คือวิถีชีวิตชาวนาไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดสตูล ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการสิ่งแวดล้อม และประธานที่ปรึกษากรรมาธิการทหารวุฒิสภา กรุงเทพ ฯ 2544.
ศูนย์ฝึกอบรม และเผยแพร่เกษตรธรรมชาติคิวเซ. การใช้จุลินทรีย์ อีเอ็มเพื่อการเกษตรและสิ่งแวดล้อมวันนี้ มูลนิธิบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ด้วยกิจกรรมทางศาสนา พิมพ์ครั้งที่ 14 กรุงเทพ ฯ 2542.
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.สู่ชีวิตใหม่ ชุมชนบ้านหินแห่-หินเจริญ อำเภอสำโรง จังหวัดอุบลราชธานี 2546.
อภิ ชาติ ดิลกโสภณ และคณะ. โครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพ ฯ 2546.

วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

How R.C. Servo Motors Work

A servo motor consists of several main parts, the motor and gearbox, a position sensor, an error amplifier and motor driver and a circuit to decode the requested position. Figure 1 contains a block diagram of a typical servo motor unit.

The radio control receiver system (or other controller) generates a pulse of varying length approximately every 20 milliseconds. The pulse is normally between 1 and 2 milliseconds long. The length of the pulse is used by the servo to determine the position it should rotate to.


Figure 1. Servo Motor Block Diagram

Starting from the control pulse we will work though each part of the diagram and explain how it all fits together. Once we have gone through how the servo works we will investigate how the control pulses can be generated with a microcontroller.

Pulse width to voltage converter

The control pulse is feed to a pulse width to voltage converter. This circuit charges a capacitor at a constant rate while the pulse is high. When the pulse goes low the charge on the capacitor is fed to the output via a suitable buffer amplifier. This essentially produces a voltage related to the length of the applied pulse.

The circuit is tuned to produce a useful voltage over a 1ms to 2ms period. The output voltage is buffered and so does not decay significantly between control pulses so the length of time between pulses is not critical.

Position Sensor

The current rotational position of the servo motor output shaft is read by a sensor. This is normally a potentiometer (variable resistor) which produces a voltage that is related to the absolute angle of the output shaft.

The position sensor then feeds its current value into the Error Amplifier which compares the current position with the commanded position from the pulse width to voltage converter.

Error Amplifier

The error amplifier is an operational amplifier with negative feedback. It will always try to minimise the difference between the inverting (negative) and non-inverting (positive) inputs by driving its output is the correct direction.

The output of the error amplifier is either a negative or positive voltage representing the difference between its inputs. The greater the difference the greater the voltage.

The error amplifier output is used to drive the motor; If it is positive the motor will turn in one direction, if negative the other. This allows the error amplifier to reduce the difference between its inputs (thus closing the negative feedback loop) and so make the servo go to the commanded position.

The servo normally contains a single integrated circuit and a hand full of discreet components to implement the entire control system.

Controlling a Servo Motor with a Microcontroller

From the above we can determine that we need to generate a pulse approximately every 20ms although the actual time between pulses is not critical. The pulse width however must be accurate to ensure that we can accurately set the position of the servo.

PWM modules

Many microcontrollers are equipped with PWM generators and most people initially consider using these to generate the control signals. Unfortunately they are not really suitable.

The problem is that we need a relatively accurate short pulse then a long delay; and generally you only have one PWM generator share between several servos which would require switching components outside the microcontroller and complicate the hardware.

The PWM generator is designed to generate an accurate pulse between 0% and 100% duty cycle, but we need something in the order of 5% to 10% duty cycle (1ms/20ms to 2ms/20ms). If a typical PWM generator is 8 or 10 bits say, then we can only use a small fraction of the bits to generate the pulse width we need and so we loose a lot of accuracy.

Timers

A more beneficial approach can be implemented with simple timers and software interrupts. The key is realising that we can run a timer at a faster rate and do a single servo at a time, followed by the next and the next etc. Each of the outputs is driven in turn for its required time and then turned off. Once all outputs have been driven, the cycle repeats.

This approach is demonstrated in the PIC servo controller project.

The timer is configured so that we have plenty of accuracy over the 1 to 2 millisecond pulse time. Each servo pin is driven high in turn and the timer configured to interrupt the processor when the pulse should be finished. The interrupt routine then drives the output low.

For simplicity, the output pins can be arranged on a single port and the value zero (0x00) written to the port to turn off all pins at once so that the interrupt routine does not need to know which servo output is currently active.

After the pulse has ended, the microprocessor sets up the next pulse and begins the process again.